เขาตังกวน
เขาตังกวน เป็นภูเขาเล็ก
ที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองสงขลา แวดล้อมด้วยสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย
ของเมืองสงขลาเคียงข้างอยู่กับเขาน้อย ที่ขนาบข้างด้วยสองฝั่งทะเล
ที่สอดคล้องกับตำนานเมืองสงขลา
วันนี้การขึ้นลงเขาตังกวน
เป็นไปด้วยความสะดวกสบาย เนื่องจากมีการจัดทำลิฟส์ สำหรับขึ้นลงเขา
ทำให้ไม่ต้องคอยปีบันใด ขึ้นเหมือนเมื่อก่อนอีกแล้ว นับเป็นความโชคดีของ
เหล่าบรรดา นักท่องเที่ยวทั้งหลาย ที่จะได้มีโอกาสชมความงามของส่งขลา
โดยไม่ต้องเหนื่อยแรงปีนบันใดดังสมัยก่อน
|
ประวัติความสำคัญของเขาตังกวน
เขาตังกวน เป็นเนินเขาสูง จากระดับน้ำทะเลประมาณ 2,000 ฟุตบนยอดเขาตังกวนเป็นที่ประดิษฐานเจดีย์พระธาตุคู่เมืองสงขลา
ซึ่งสร้างในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี (อยู่บนยอดเขาสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 2,000 ฟุต) โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.4) ได้พระราชทานเงินหลวงให้เป็นทุนในการบูรณะปฏิสังขรณ์ และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน (ร.9) ได้ทรงพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุให้มาบรรจุในองค์พระเจดีย์
จากยอดเขาตังกวนนี้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของเมืองสงขลาได้โดยรอบ สามารถขึ้นไปเที่ยวชมได้ มีบันไดอยู่ทางถนนราชดำเนินใน ทุกๆ ปีในเดือนตุลาคม จะมีงานพิธีห่มผ้าองค์พระเจดีย์ และประเพณีตักบาตรเทโวและลากพระของสงขลา ก่อนจะถึงยอดเขายังมีศาลาวิหารแดง (พลับพลาที่ประทับ)
ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ามหาราช (ร.5) โปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเชียรคีรี (ชม) ผู้สำเร็จราชการเมืองสงขลาในสมัยนั้น (2432) ในครั้งที่พระองค์เสด็จประพาสแหลมมาลายู และได้เสด็จพระราชดำเนินไปนมัสการพระเจดีย์บนยอดเขาตังกวน สร้างพลับพลานี้ถวายตามพระราชดำริของสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสร้างเสร็จในปี 2440
ซึ่งสร้างในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี (อยู่บนยอดเขาสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 2,000 ฟุต) โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.4) ได้พระราชทานเงินหลวงให้เป็นทุนในการบูรณะปฏิสังขรณ์ และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน (ร.9) ได้ทรงพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุให้มาบรรจุในองค์พระเจดีย์
จากยอดเขาตังกวนนี้สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของเมืองสงขลาได้โดยรอบ สามารถขึ้นไปเที่ยวชมได้ มีบันไดอยู่ทางถนนราชดำเนินใน ทุกๆ ปีในเดือนตุลาคม จะมีงานพิธีห่มผ้าองค์พระเจดีย์ และประเพณีตักบาตรเทโวและลากพระของสงขลา ก่อนจะถึงยอดเขายังมีศาลาวิหารแดง (พลับพลาที่ประทับ)
ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ามหาราช (ร.5) โปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเชียรคีรี (ชม) ผู้สำเร็จราชการเมืองสงขลาในสมัยนั้น (2432) ในครั้งที่พระองค์เสด็จประพาสแหลมมาลายู และได้เสด็จพระราชดำเนินไปนมัสการพระเจดีย์บนยอดเขาตังกวน สร้างพลับพลานี้ถวายตามพระราชดำริของสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสร้างเสร็จในปี 2440
การเดินทางสู่เขาตังกวน
กานขึ้นสู่ยอดเขาตังกวน ปัจจุบัน ทำได้ ๒ วิธี คือ
๑ ขึ้นลิฟส์โดยสาร จากจุดบริการลิฟส์โดยสาย ณ บริเวนถนนตัดระหว่างเขาตังกวนและเขาน้อย ไม่ต้องเดินกันให้เหนื่อยด้วยค่าบริการคนละ 20 บาท โดยเปิดบริการเวลา 10.00-19.00 น. ในวันจันทร์-ศุกร์ และ 8.00-19.00 น. ในวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์
๒ ขึ้นโดยการเดินขึ้นบันได ฝั่งตรงตะวันตก ซึ่งเป็นฝั่งตรงข้ามลิฟส์โดยสาร ตลอดระยะทางมีบันไดหิน สลับกับจุดพักและจุดชมวิว เป็นช่วง ๆ ขอดีคือจะสามารถชมมุมมอง ได้หลายมุม หลายระดับ ข้อเสียข้อเดียวคือเหนื่อยครับ เพราะบันไดเป็นบันใด ที่มีความสูงกว้าง ตามธรรมดาที่นักท่องเที่ยวที่ชมสิ่งก่อสร้งโบราณจะได้พบ ตามสถานที่สำคัญ ๆ เสมอครับ จำนวนบันได จากฐานภูเขา ณ บริเวณบันไดนาค ถึงวิหารแดงจำนวน ๑๔๕ ขั้น ลงไปนับดูกันได้ครับ
กานขึ้นสู่ยอดเขาตังกวน ปัจจุบัน ทำได้ ๒ วิธี คือ
๑ ขึ้นลิฟส์โดยสาร จากจุดบริการลิฟส์โดยสาย ณ บริเวนถนนตัดระหว่างเขาตังกวนและเขาน้อย ไม่ต้องเดินกันให้เหนื่อยด้วยค่าบริการคนละ 20 บาท โดยเปิดบริการเวลา 10.00-19.00 น. ในวันจันทร์-ศุกร์ และ 8.00-19.00 น. ในวันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์
๒ ขึ้นโดยการเดินขึ้นบันได ฝั่งตรงตะวันตก ซึ่งเป็นฝั่งตรงข้ามลิฟส์โดยสาร ตลอดระยะทางมีบันไดหิน สลับกับจุดพักและจุดชมวิว เป็นช่วง ๆ ขอดีคือจะสามารถชมมุมมอง ได้หลายมุม หลายระดับ ข้อเสียข้อเดียวคือเหนื่อยครับ เพราะบันไดเป็นบันใด ที่มีความสูงกว้าง ตามธรรมดาที่นักท่องเที่ยวที่ชมสิ่งก่อสร้งโบราณจะได้พบ ตามสถานที่สำคัญ ๆ เสมอครับ จำนวนบันได จากฐานภูเขา ณ บริเวณบันไดนาค ถึงวิหารแดงจำนวน ๑๔๕ ขั้น ลงไปนับดูกันได้ครับ
บรรยากาศรอบ ๆ เจดีย์พระธาตุคู่เมืองสงขลา
เจดีย์พระธาตุคู่เมืองสงขลา
ถือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจชาวเมืองสงขลาที่สำคัญอย่างหนึ่ง
พิสูจน์ได้จากทุกปี จะมีประเภณีชักพระ และเปลี่ยนผ้าห่มองค์เจดีย์ทุกปี
ในช่วงเดือนตุลาคม ซึ่งถือเป็นงานใหญ่งานหนึ่งของจังหวัดสงขลา
|
เขาตังกวน
เป็นภูเขาลูกเล็ก ๆ ตั้งอยู่บริเวณปลายแหลมในตัวเมืองสงขลา ทางไปแหลมสนอ่อน บนยอดเขาตังกวนเป็นที่ประดิษฐานเจดีย์พระธาตุคู่เมืองสงขลา ซึ่งสร้างในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช เป็นศิลปะสมัยทวารวดี ในเดือนตุลาคมของทุกปีจะมีพิธีห่มผ้าองค์เจดีย์ ประเพณีลากพระและตักบาตรเทโว และยังสามารถมองเห็นทิวทัศน์ของเมืองสงขลาและทิวทัศน์สองทะเล คือทะเลอ่าวไทยและทะเลสาบสงขลา และก่อนถึงยอดเขาตังกวนจะมีศาลาวิหารแดง (พลับพลาที่ประทับ) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเชียรคีรี (ชม) ผู้สำเร็จราชการเมืองสงขลาในสมัยนั้น สร้างพลับพลานี้ถวายตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.2431 บริเวณด้านล่างเขาตังกวนมีลิงอาศัยอยู่จำนวนมาก การขึ้นยอดเขาตังกวน มีบริการลิฟท์ขึ้นยอดเขา เที่ยวละประมาณ 20 บาท หรืออาจเดินเท้าขึ้นไปตามบันไดนาคก็ได้
ขอบคุณภาพสวยๆจาก http://www.oknation.net/blog/president/gallery/25879
การเดินทาง
การขึ้นยอดเขาตังกวน มีบริการลิฟท์ขึ้นยอดเขา เที่ยวละประมาณ 20 บาท หรืออาจเดินเท้าขึ้นไปตามบันไดนาคก็ได้
0 comments:
Post a Comment